Artwork

コンテンツは Fatoutkey によって提供されます。エピソード、グラフィック、ポッドキャストの説明を含むすべてのポッドキャスト コンテンツは、Fatoutkey またはそのポッドキャスト プラットフォーム パートナーによって直接アップロードされ、提供されます。誰かがあなたの著作物をあなたの許可なく使用していると思われる場合は、ここで概説されているプロセスに従うことができますhttps://ja.player.fm/legal
Player FM -ポッドキャストアプリ
Player FMアプリでオフラインにしPlayer FMう!

ระบบควบคุมภาวะธำรงดุลของคอเลสเตอรอล

1:56:17
 
シェア
 

Manage episode 348315975 series 3233261
コンテンツは Fatoutkey によって提供されます。エピソード、グラフィック、ポッドキャストの説明を含むすべてのポッドキャスト コンテンツは、Fatoutkey またはそのポッドキャスト プラットフォーム パートナーによって直接アップロードされ、提供されます。誰かがあなたの著作物をあなたの許可なく使用していると思われる場合は、ここで概説されているプロセスに従うことができますhttps://ja.player.fm/legal

👩🏻‍💻 ห่างหายจากการทำไลฟ์ไปเดือนกว่าเลยค่ะ ตอนนี้จบภารกิจงานสำหรับปีนี้เป็นพี่เรียบร้อย พร้อมกับยังอยู่รอดปลอดโควิด ทั้งๆที่ในรอบ 1.5 เดือนที่ผ่านมา พี่ทำใจไว้ละ เพราะทำงานนอกบ้านเกือบทุกวัน พบเจอผู้คนมากมาย เปิดมาส์กทานข้าว ที่สำคัญแม่บ้านติดโควิดมาเสิรฟข้าวพี่บนห้องทุกวัน พี่ก็ยังอยู่รอดปลอดภัย (ไขว้นิ้ว)

🎧 กลับมากับไลฟ์ #53 ระบบควบคุมภาวะธำรงดุลของคอเลสเตอรอล ทำไมเรื่องนี้สำคัญ และพี่อยากทำไลฟ์มาก ก็เพราะพี่เองก็เคยมีความเข้าใจผิดเกี่ยวกับเรื่องคอเลสเตอรอลหลายข้อทีเดียวค่ะ ซึ่งพี่เห็นว่าถึงเวลาที่ต้องอ่านงานวิจัยเพื่อเคลียร์ความเข้าใจผิดเหล่านี้กันเสียที เช่น

1. คอเลสเตอรอลสร้างจากที่ไหนในร่างกายบ้าง เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างไรระหว่าง สร้างจากตับ (hepataic synthesis) vs สร้างจากทางเดินอาหาร (intestinal synthesis) vs สร้างจากอวัยวะอื่นนอกเหนือจากตับ (extrahepatic synthesis) แค่เรื่องนี้เรื่องเดียว กับ diagram 1 รูปจากงานวิจัยดีมาก 1 ฉบับพี่ว่าน้องจะกระจ่างในข้อสงสัยหลายเรื่องเลยค่ะ งานวิจัยที่พี่อ่านจบไปแล้ว 2 ฉบับดีมากๆ

2. คอเลสเตอรอลจากอาหาร มีผลกระทบต่อคอเลสเตอรอลในเลือดหรือไม่อย่างไร ทำไมบางคนกินไข่แล้วระดับคอเลสเตอรอลปรกติ ในขณะที่บางคนกินไข่แล้วระดับคอเลสเตอรอลในเลือดขยับขึ้น งานวิจัยที่ไขข้อข้องใจนี้รวมถึงฟังเลคเชอร์ของ Prof.Thomas Dayspring ก็กระจ่างมากเลยค่ะ

3. ทำไมตับจึงมีความสำคัญต่อการควบคุมภาวะธำรงดุลของคอเลสเตอรอล โดยเฉพาะการควบคุมสมดุล LDL-Cholesterol ในเลือด ซึ่งเราจะต้องให้ความสนใจมาก เพราะมีผลต่อการเพิ่มหรือลดความเสี่ยงของ Atherosclerotic Coronary Artery Disease (ASCVD) มีปัจจัยอะไรบ้างที่กระทบการควบคุมสมดุลนี้

4. การลดระดับ LDL-Cholesterol ให้ต่ำที่ระดับ 70 มก/ดล หรือต่ำกว่าด้วยยา ในคนที่มีความเสี่ยงสูงต่อ ASCVD เป็นอันตรายเนื่องจากไปลดการ supply คอเลสเตอรอลให้อวัยวะต่างๆจริงหรือไม่

5. ถ้าเราไม่บริโภคคอเลสเตอรอลเลย เป็นอันตรายต่อการสร้างคอเลสเตอรอลภายในร่างกายหรือไม่

📌 แค่ 5 หัวข้อนี้ พี่ว่าจะทำให้น้องๆเข้าใจคอเลสเตอรอลดีขึ้น พี่จะใช้ข้อมูลจาก textbook Teherapeutic Lipidology 2nd Edition เป็นหลัก เสริมด้วยงานวิจัยที่น่าสนใจสักจำนวนหนึ่ง

  continue reading

131 つのエピソード

Artwork
iconシェア
 
Manage episode 348315975 series 3233261
コンテンツは Fatoutkey によって提供されます。エピソード、グラフィック、ポッドキャストの説明を含むすべてのポッドキャスト コンテンツは、Fatoutkey またはそのポッドキャスト プラットフォーム パートナーによって直接アップロードされ、提供されます。誰かがあなたの著作物をあなたの許可なく使用していると思われる場合は、ここで概説されているプロセスに従うことができますhttps://ja.player.fm/legal

👩🏻‍💻 ห่างหายจากการทำไลฟ์ไปเดือนกว่าเลยค่ะ ตอนนี้จบภารกิจงานสำหรับปีนี้เป็นพี่เรียบร้อย พร้อมกับยังอยู่รอดปลอดโควิด ทั้งๆที่ในรอบ 1.5 เดือนที่ผ่านมา พี่ทำใจไว้ละ เพราะทำงานนอกบ้านเกือบทุกวัน พบเจอผู้คนมากมาย เปิดมาส์กทานข้าว ที่สำคัญแม่บ้านติดโควิดมาเสิรฟข้าวพี่บนห้องทุกวัน พี่ก็ยังอยู่รอดปลอดภัย (ไขว้นิ้ว)

🎧 กลับมากับไลฟ์ #53 ระบบควบคุมภาวะธำรงดุลของคอเลสเตอรอล ทำไมเรื่องนี้สำคัญ และพี่อยากทำไลฟ์มาก ก็เพราะพี่เองก็เคยมีความเข้าใจผิดเกี่ยวกับเรื่องคอเลสเตอรอลหลายข้อทีเดียวค่ะ ซึ่งพี่เห็นว่าถึงเวลาที่ต้องอ่านงานวิจัยเพื่อเคลียร์ความเข้าใจผิดเหล่านี้กันเสียที เช่น

1. คอเลสเตอรอลสร้างจากที่ไหนในร่างกายบ้าง เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างไรระหว่าง สร้างจากตับ (hepataic synthesis) vs สร้างจากทางเดินอาหาร (intestinal synthesis) vs สร้างจากอวัยวะอื่นนอกเหนือจากตับ (extrahepatic synthesis) แค่เรื่องนี้เรื่องเดียว กับ diagram 1 รูปจากงานวิจัยดีมาก 1 ฉบับพี่ว่าน้องจะกระจ่างในข้อสงสัยหลายเรื่องเลยค่ะ งานวิจัยที่พี่อ่านจบไปแล้ว 2 ฉบับดีมากๆ

2. คอเลสเตอรอลจากอาหาร มีผลกระทบต่อคอเลสเตอรอลในเลือดหรือไม่อย่างไร ทำไมบางคนกินไข่แล้วระดับคอเลสเตอรอลปรกติ ในขณะที่บางคนกินไข่แล้วระดับคอเลสเตอรอลในเลือดขยับขึ้น งานวิจัยที่ไขข้อข้องใจนี้รวมถึงฟังเลคเชอร์ของ Prof.Thomas Dayspring ก็กระจ่างมากเลยค่ะ

3. ทำไมตับจึงมีความสำคัญต่อการควบคุมภาวะธำรงดุลของคอเลสเตอรอล โดยเฉพาะการควบคุมสมดุล LDL-Cholesterol ในเลือด ซึ่งเราจะต้องให้ความสนใจมาก เพราะมีผลต่อการเพิ่มหรือลดความเสี่ยงของ Atherosclerotic Coronary Artery Disease (ASCVD) มีปัจจัยอะไรบ้างที่กระทบการควบคุมสมดุลนี้

4. การลดระดับ LDL-Cholesterol ให้ต่ำที่ระดับ 70 มก/ดล หรือต่ำกว่าด้วยยา ในคนที่มีความเสี่ยงสูงต่อ ASCVD เป็นอันตรายเนื่องจากไปลดการ supply คอเลสเตอรอลให้อวัยวะต่างๆจริงหรือไม่

5. ถ้าเราไม่บริโภคคอเลสเตอรอลเลย เป็นอันตรายต่อการสร้างคอเลสเตอรอลภายในร่างกายหรือไม่

📌 แค่ 5 หัวข้อนี้ พี่ว่าจะทำให้น้องๆเข้าใจคอเลสเตอรอลดีขึ้น พี่จะใช้ข้อมูลจาก textbook Teherapeutic Lipidology 2nd Edition เป็นหลัก เสริมด้วยงานวิจัยที่น่าสนใจสักจำนวนหนึ่ง

  continue reading

131 つのエピソード

すべてのエピソード

×
 
Loading …

プレーヤーFMへようこそ!

Player FMは今からすぐに楽しめるために高品質のポッドキャストをウェブでスキャンしています。 これは最高のポッドキャストアプリで、Android、iPhone、そしてWebで動作します。 全ての端末で購読を同期するためにサインアップしてください。

 

クイックリファレンスガイド

探検しながらこの番組を聞いてください
再生